How Much You Need To Expect You'll Pay For A Good ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
How Much You Need To Expect You'll Pay For A Good ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
Blog Article
นอกจากนี้ ความไม่เท่าเทียมกันทางชนชั้นในสังคมไทยก็ทำให้การเข้าถึงการศึกษาแตกต่างกันไป เช่น การที่ผู้ปกครองทำอาชีพเกษตรกรรมในช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ และได้ผลผลิตไม่ดี ทำให้รายได้ไม่เพียงพอ ส่งผลให้บุตรหลานที่กำลังอยู่ในวัยเรียนต้องรับภาระในการหาค่าใช้จ่าย เพื่อมาช่วยเหลือจุนเจือครอบครัวควบคู่ไปกับการเรียน ซึ่งในบางกรณีทำให้เด็กนักเรียนต้องออกจากระบบการศึกษาไปในที่สุด
ไม่ใช่แค่ฝั่งของเจ้าหน้าที่เท่านั้น แม้กระทั่งผู้ปกครองก็ไม่ได้ตระหนักถึงการศึกษาที่ด้อยคุณภาพเช่นกัน พวกเขาจึงไม่ได้สนใจจะเรียกร้องให้โรงเรียนมีคุณภาพดีกว่าเดิม หรือกว่าที่พวกเขาจะตระหนักได้ ก็เป็นช่วงที่เด็กเรียนจบและเข้าสู่ตลาดแรงงานแล้ว จนทำให้หลายๆ คนเจอกับสภาวะที่เรียนจบมาแล้ว แต่กลับไม่มีทักษะเพียงพอในการทำงาน
มูลนิธิสร้างเสริมไทย ช่วยดำเนินการในการส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ให้แก่เยาวชนไทย โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชนบทที่ด้อยโอกาส และห่างไกล
ดร.ไกรยส ภัทราวาท : พลังของทุกคน คือ ผู้เปลี่ยนเกมความเสมอภาคการศึกษาอย่างแท้จริง
เพราะการเรียนรู้ทำให้เกิดศักยภาพการสอนที่เพิ่มมากขึ้น
Functional cookies assist to carry out specific functionalities like sharing the ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา articles of the website on social websites platforms, acquire feedbacks, along with other 3rd-occasion characteristics. Efficiency Functionality
สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน เศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ
สังคมไทยยังคงเป็นสังคมที่ให้ความสำคัญ และให้คุณค่ากับการเรียนการสอนในเชิงทักษะทางด้านวิชาการมากกว่าทักษะทางด้านสังคม รวมถึงระยะเวลาที่ยาวนานในการเล่าเรียน จึงทำให้เยาวชนขาดทักษะทางด้านสังคม ขาดการเรียนรู้เพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ทำให้แม้ว่าจะมีความรู้ และทักษะที่ดีในเชิงวิชาการ แต่กลับไม่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
เมื่อการศึกษาที่ควรจะเป็นรากฐานสำคัญเพื่อเปลี่ยนชีวิต กลับกลายเป็นจุดเริ่มต้นของความเหลื่อมล้ำและความไม่เสมอภาค จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจะต้องเข้ามาพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ปรับระบบให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงออกนโยบายต่างๆ เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเด็กที่ยังถูกทิ้งไว้ข้างหลัง เพื่อให้การศึกษาเป็นประตูสู่โอกาสแห่งความเสมอภาคที่แท้จริง
สถิติของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยในระดับนานาชาติ:
เมื่อกล่าวถึงความไม่เท่าเทียม และความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษาอาจทำให้มองเห็นภาพของความเหลื่อมล้ำไม่ชัดเจนมากนัก แต่เมื่อมองปัญหาที่ส่งผลให้เกิดความไม่เท่าเทียม อาจทำให้ภาพของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาแสดงออกมาได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยสะท้อนผ่านปัญหาในมิติต่างๆ ซึ่งแม้มีการพยายามแก้ไขเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำ แต่กลับพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษายังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยปัญหาที่สะท้อนความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา มีดังต่อไปนี้
นอกจากนี้ ยังพบว่าครูจำนวนมากต้องแบกรับภาระหน้าที่ที่หลากหลาย สวนทางกับอัตราค่าจ้างที่ควรจะได้รับ รวมถึงสวัสดิการที่ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ชนบท จึงทำให้ผู้คนจำนวนมากไม่เลือกประกอบอาชีพครู ทำให้นักเรียนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ และไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง จากปัญหาข้างต้นก็อาจสะท้อนได้ในอีกแง่มุมหนึ่งว่า ครูเองก็อาจเป็นผลผลิตมาจากความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในอดีตด้วยเช่นกัน
เพราะแต่ละพื้นที่มีบริบทแตกต่างกันและโครงสร้างต้นตอของปัญหาก็ไม่เหมือนกัน การแก้ปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา” จึงต้องแก้ที่พื้นที่